STEP 1 : Setting auto boot Wifi
ขั้นตอนนี้จะทำให้เราสามารถใช้งาน Command เดิมๆ ทุกๆครั้งที่ทำการ boot ขึ้นมาใหม่ได้
Last updated
ขั้นตอนนี้จะทำให้เราสามารถใช้งาน Command เดิมๆ ทุกๆครั้งที่ทำการ boot ขึ้นมาใหม่ได้
Last updated
Assoc. Prof. Wiroon Sriborrirux, Founder of Advance Innovation Center (AIC) and Bangsaen Design House (BDH), Electrical Engineering Department, Faculty of Engineering, Burapha University
หลายคนคงเจอปัญหาที่บอร์ดทดสอบปิดไปแล้ว หรือไฟดับ เพื่อนเรากดปิดบอร์ดแล้วเราต้องต่อจอเพื่อเปิด Terminal ในการเชื่อมต่อ Wifi ใหม่อีกครั้งสามารถนำวิธีในการทดลองนี้ไปประยุกต์ใช้กับงานอื่นๆที่ต้องการให้ทำการรันโปรแกรมอัตโนมัติได้เช่นกัน แต่เป็นการใช้แบบชั่วคราวถ้าจะเป็นโปรดัคจริงควรใช้เป็น Linux service หรือ Docker service ในการมาจัดการระบบ
เริ่มจากการที่นิสิตต่อจอและอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ กับบอร์ดทดสอบให้เรียบร้อย แล้วทำการเปิดเครื่อง
ถ้าจำไม่ได้กลับไปทบทวนบทที่ขั้นตอนที่ 2 ของการทดลองในคราวก่อน --> Link
ให้ทำการแก้ไขไฟล์ที่ชื่อว่า .bashrc ซึ่งไฟล์นี้จะเป็นตัวคอยจัดการให้ทำการรันคำสั่งที่เราเขียนไว้ก่อนที่จะเปิด Terminal ในทุกๆครั้ง
ตรวจสอบไฟล์ wpa_supplicant.sh ว่ารหัสไวไฟที่แชร์ Hotspot นั้นเป็น Hotspot ที่แชร์สัญญาณไวไฟอยู่
หลังจากนั้นให้ทดสอบการทำงานโดยการ reboot เพื่อทดสอบการเชื่อมต่อ Wifi
เราก็จะสามารถทำการเชื่อมต่อไวไฟได้อัตโนมัติซึ่งสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับการใช้งานอื่นๆ ได้อีกในการตั้งค่า .bashrc เพื่อ auto command ในการทำงาน